Page 7 - คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 2568
P. 7
ดังนั้นจึงต้องไปอาศัยเรียนที่ “โรงเรียนศรีพนม” ที่วัดท่าเกวียน
ซึ่งเปนโรงเรียนปริยัติธรรมของพระสงฆ์ ต่อมาการเรียนที่นี่มี
้
อุปสรรค คือ ฤดูฝนนําจะไหลหลากท่วมบริเวณโรงเรียน ทําให้
การไปมาของนักเรียนไม่สะดวก จึงขออนุญาตใช้หอประชุม
อําเภอพนมสารคามเปนสถานที่เรียน แล้วย้ายจากโรงเรียนศรีพนม
มาเรียนที่หอประชุมอําเภอเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๐๐ รวมเวลา
ที่ใช้สถานที่โรงเรียนศรีพนม ๑ ป ๔ เดือน ในขณะที่นักเรียนรุ่นแรก
่
็
่
ุ
่
ี
้
ี
ยังเรียนอยู่ที่หอประชุมอําเภอนั้น โรงเรียนยังก่อสร้างอาคารเรียนไมเสรจ ฉะนนนกเรยนรนท ๑
ั
ั
จึงเรียนจบหลักสูตรสูงสุดที่หอประชุมอําเภอนี้เอง ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๐๐ กระทรวง-
ศึกษาธิการได้อนุมัติเงิน ก.ศ.ส. ๗๕๐,๐๐๐ บาท ให้สร้างอาคารเรียนถาวรหลังแรกขึ้น เปนตึก ๒ ชั้น
จํานวน ๑๒ ห้องเรียน ได้แก่ อาคาร ๑ ในที่ดินที่ตั้งอยู่ปจจุบันโดยเริ่มทําการก่อสร้างตั้งแต่ต้นป
พ.ศ. ๒๕๐๑ จนเสร็จ และเปดใช้เปนสถานที่เรียนได้ เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๒
โดยเหตุที่ท่านเจ้าคุณพระอดุลสารมุนี ท่านเปนผู้ริเริ่มและรับเปนภาระธุระในเรื่องการจัดหา
เงินซื้อที่ดินและดูแลการก่อสร้าง ด้วยความเอาใจใส่ไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยาก มีแต่เมตตาธรรม
หวังที่จะให้มีโรงเรียนมัธยมไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษาเล่าเรียนอยู่ใกล้บ้าน จะได้เปนผู้มีความสามารถ
มีความเจริญก้าวหน้าสืบไป นับเปนความดําริที่มองเห็นการณ์ไกล เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม
อย่างมหาศาลสุดที่จะพรรณนา ทางราชการและประชาชนจึงเห็นพ้องต้องกันว่าควรใช้ชื่อสมณศักดิ์
ของท่านเปนชื่อโรงเรียนเพื่อเปนอนุสรณ์สถานยกย่องเกียรติยศถวายแด่ท่าน ดังนั้นโรงเรียนจึง
ชื่อว่า โรงเรียนพนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” มาจนถึงปจจุบันนี้ แต่ประชาชนทั่วไปมักจะเรียก
ชื่อสั้นๆ จนติดปากว่า “โรงเรียนพนมอดุลวิทยา” และหลังจากได้ตั้งโรงเรียนจนเปนที่สําเร็จ
เรียบร้อยดังกล่าวแล้ว โรงเรียนนี้ก็ได้เจริญเติบโตมาโดยลําดับ ปจจุบันโรงเรียนพนมสารคาม
“พนมอดุลวิทยา” สังกัดอยู่ในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ฉะเชิงเทรา สํานักงาน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ
๗